วันจันทร์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

SMART ENERGY

SMART  ENERG
ตอนโรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์(วัดประดู่)ในพระราชูปถัมภ์ฯ



Y

 

วันศุกร์ที่ 5 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2564

กรอบแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Framework for 21st Century Learning)

กรอบแนวคิดการเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21 (Framework for 21st Century Learning)


Women and Computer Science

 Women and Computer Science

Galatsanou, Eleni
BU Journal of Graduate Studies in Education, v9 n1 p57-62 2017
A plethora of jobs for information and communication technology professionals is predicted for the future, and female students outnumber male students in tertiary education. Nevertheless, women are significantly underrepresented in the computer science field. Stereotyping and lack of interest, encouragement, exposure, confidence, and role models are some of the factors contributing to this gender gap issue. However, most factors are actionable and these actions need to be taken to ensure the 21st century's advanced technological world does not miss out, for our society's benefit, on women's perspectives and innovative technological contributions.
Brandon University. 270 18th Street, Brandon, Manitoba R7A6A9. Tel: 204-727-9616; e-mail: facultyed@brandonu.ca; Web site: https://www.brandonu.ca/master-education/journal/
Publication Type: Journal Articles; Reports - Descriptive
Education Level: Higher Education; Postsecondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A

Galatsanou, Eleni,A.E.(2017),Women and Computer Science,BU Journal of Graduate Studies in Education, v9 n1, p57-62.

Download Full Text

Social Science, Philosophy and Education

 Social Science, Philosophy and Education

Barrow, Robin
Philosophical Inquiry in Education, v26 n2 p146-155 2019
This essay argues for the urgent need for philosophy as the necessary first step in any educational undertaking. Philosophy is involved with making fine distinctions which are necessary to clarify concepts and terms. The paper focuses primarily on the problems with an overreliance on scientific research in the social sciences, with special emphasis on the dangers posed in educational research. Three specific problems are identified. First, the emphasis on scientific research downgrades non-scientific research, which may be more appropriate as modes of inquiry in many aspects of education. Second, the emphasis on scientific research distorts research in areas such as the arts and humanities because individual success as a scholar is largely measured by criteria that make sense in the natural sciences but not necessarily in the arts. Third, and most significantly, the paper questions whether social action and interaction can be investigated in a truly scientific manner. [This paper was presented at "Philosophical Issues in Education: A Symposium in Honour" of Dr. Robin Barrow, held at Simon Fraser University, Vancouver, B.C. on November 2, 2018.]
Canadian Philosophy of Education Society. S-FG 6310 Faubourg Ste-Catherine Building, 1610 St. Catherine West, Montreal, Quebec, Canada, H4B 1R6. Tel: 514-758-7813; Web site: http://journals.sfu.ca/pie/index.php/pie
Publication Type: Journal Articles; Speeches/Meeting Papers; Reports - Evaluative
Education Level: Higher Education; Postsecondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A

Barrow, Robin,A.E.(2019),Social Science, Philosophy and Education,Philosophical Inquiry in Education, v26 n2 ,p146-155.

Chemicals Are Contaminants Too: Teaching Appreciation and Critique of Science in the Era of Next Generation Science Standards (NGSS)

Chemicals Are Contaminants Too: Teaching Appreciation and Critique of Science in the Era of Next Generation Science Standards (NGSS)
Morales-Doyle, Daniel; Childress Price, Tiffany; Chappell, Mindy J.
Science Education, v103 n6 p1347-1366 Nov 2019
This article examines the tensions that arose as teachers, scientists, youth, and community organizers worked to develop a curriculum that was responsive to community concerns and the Next Generation Science Standards (NGSS). Within the context of urban heavy metal contamination and building on previous critiques of the standards, we identified how the ideological commitments of the NGSS hinder their applicability to community issues. We examine latent ideological commitments in the performance expectations (PEs) and disciplinary core ideas as they relate to historical and present causes and consequences of urban heavy metal contamination. Whereas the scientific enterprise and chemical industry produce harms and benefits, the NGSS focus on benefits and ignore that both harms and benefits of science are unevenly distributed. Given the pressure on teachers to implement the NGSS, this paper presents examples from collaborative curriculum development efforts that meet PEs while pushing students to ask critical questions and engage with their communities to challenge the standards' alignment with the chemical industry. Ultimately, we argue that the NGSS position teachers as promoters of the status quo of the scientific enterprise and we document possibilities for the role of science teachers in US schools that are more transformative.
Wiley-Blackwell. 350 Main Street, Malden, MA 02148. Tel: 800-835-6770; Tel: 781-388-8598; Fax: 781-388-8232; e-mail: cs-journals@wiley.com; Web site: http://www.wiley.com/WileyCDA
Publication Type: Journal Articles; Reports - Evaluative
Education Level: Elementary Secondary Education
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: National Science Foundation (NSF)
Authoring Institution: N/A

Grant or Contract Numbers: 1720856 


Morales-Doyle, Daniel; Childress Price, Tiffany; Chappell, Mindy J.A.E.(2019)Chemicals Are Contaminants Too: Teaching Appreciation and Critique of Science in the Era of Next Generation Science Standards (NGSS),Science Education, v103 n6,p1347-1366.

Evaluation Science

 Evaluation Science

Patton, Michael Quinn
American Journal of Evaluation, v39 n2 p183-200 Jun 2018
Culturally and politically science is under attack. The core consequence of perceiving and asserting evaluation as science is that it enhances our credibility and effectiveness in supporting the importance of science in our world and brings us together with other scientists to make common cause in supporting and advocating for science. Other consequences include communicating our role more clearly and credibly to those who value science. Viewing evaluation as science may affect how we are viewed, treated, and positioned in academia, government, and by funders and users of evaluation. The ramifications of evaluation science for evaluation's status as a profession, branch of applied social science, discipline, and transdiscipline are reviewed. The conclusion offers implications, caveats, and cautions regarding the identity and practice of evaluation science.
SAGE Publications. 2455 Teller Road, Thousand Oaks, CA 91320. Tel: 800-818-7243; Tel: 805-499-9774; Fax: 800-583-2665; e-mail: journals@sagepub.com; Web site: http://sagepub.com
Publication Type: Journal Articles; Reports - Evaluative
Education Level: N/A
Audience: N/A
Language: English
Sponsor: N/A
Authoring Institution: N/A

Patton, Michael Quinn A.E. (Jun 2018 )Evaluation Science,American Journal of Evaluation,v.39 ,n.2 ;p183-200.

วันเสาร์ที่ 30 มกราคม พ.ศ. 2564

QR CODE นางสาวณัฐิดา เดชอัคคณัฐ




 

รูปภาพ นางสาวณัฐิดา เดชอัคคณัฐ

 





 

การพัฒนาตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
The Development of Quality Culture Indicators for School Administrators under the Office of Secondary Educational Service Area in the Northeast of Thailand.

 : ชื่อผู้วิจัย ธนิต ปุ่นประโคน
 : ครูและบุคลากรทางการศึกษา
 : ปี 2562
 : 52

logo onec

บทคัดย่อ (Abstract)

การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมาย 1) เพื่อศึกษาองค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษาสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 2) เพื่อสร้างและพัฒนาตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และ 3) เพื่อตรวจสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์เชิงโครงสร้าง ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ กลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ ครูสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ในปีการศึกษา 2560 จำนวน 390 คน กลุ่มตัวอย่างได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบหลายขั้นตอน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย เป็นแบบสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้าง แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลที่เป็นสถิติเชิงพรรณนา และสถิติอ้างอิง โดยโปรแกรมสำเร็จรูปทางสถิติและโปรแกรมลิสเรล
ผลการวิจัยพบว่า
1. วัฒนธรรมคุณภาพ ประกอบด้วยองค์ประกอบหลัก 4 องค์ประกอบหลัก องค์ประกอบย่อย 13 องค์ประกอบ ดังนี้ 1) องค์ประกอบหลัก ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่องมี 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ (1) ด้านการวางแผน (2) ด้านการปฏิบัติตามแผน (3) ด้านการตรวจสอบ (4) ด้านการปรับปรุงแก้ไข 2) องค์ประกอบหลักด้านการมีส่วนร่วมมี 3 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ (1) ด้านการดำเนินงาน
(2) ด้านการตัดสินใจ (3) ด้านการประเมินผล 3) องค์ประกอบหลักด้านภาวะผู้นำมี 4 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ (1) ด้านการบริหารจัดการที่ดี (2) ด้านความรับผิดชอบ (3) ด้านความสามารถ (4) ด้านการสร้างเครือข่าย 4) องค์ประกอบหลักด้านการมุ่งเน้นนักเรียนมี 2 องค์ประกอบย่อย ได้แก่ (1) ด้านการรับฟังนักเรียน (2) ด้านความผูกพันของนักเรียนและตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่สร้างและพัฒนาขึ้นมีจำนวน 70 ตัวบ่งชี้ ประกอบด้วย ด้านการปรับปรุงอย่างต่อเนื่อง จำนวน 20 ตัวบ่งชี้ ด้านการมีส่วนร่วม จำนวน 14 ตัวบ่งชี้ ด้านภาวะผู้นำ จำนวน 23 ตัวบ่งชี้ และด้านการมุ่งเน้นนักเรียน จำนวน 13 ตัวบ่งชี้
2. ผลการทดสอบความสอดคล้องของโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้าง ตัวบ่งชี้การพัฒนา ตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาภาคตะวันออกเฉียงเหนือที่พัฒนาขึ้นกับข้อมูลเชิงประจักษ์ โดยใช้ค่าสถิติ ไค-สแควร์ ค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืน และค่าดัชนีวัดระดับความกลมกลืนที่ปรับแก้แล้ว ทดสอบสมมติฐานการวิจัย พบว่าโมเดลความสัมพันธ์โครงสร้างตัวบ่งชี้วัฒนธรรมคุณภาพของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ภาคตะวันออกเฉียงเหนือมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ (X2 = 64.49, df = 50, p = 0.082, RMSEA = 0.027, GFI = 0.98, AGFI= 0.95)

วันศุกร์ที่ 29 มกราคม พ.ศ. 2564

 

ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สามารถพยากรณ์จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา โรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ

Main Article Content

ธานินทร์ นุชประดิษฐ์
อภิธีร์ ทรงบัณฑิตย์

Abstract

          การวิจัยครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลง ศึกษาระดับจรรยาบรรณวิชาชีพ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงกับจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษา และศึกษาภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงที่สามารถพยากรณ์จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้  ได้แก่ครูจากโรงเรียนพระปริยัติธรรม แผนกสามัญศึกษา สังกัดสำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ ปีการศึกษา 2559 จำนวน 136 คน เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามแบบมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ซึ่งมีค่าความเที่ยงตรงตั้งแต่ 0.60-1.00  ค่าความเชื่อมั่น (α) ของภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม เท่ากับ .95 และด้านจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรม เท่ากับ .97 สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่  ค่าเฉลี่ย  ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์แบบเพียร์สัน (Pearson Product Moment Correlation Coefficient) สหสัมพันธ์พหุคูณ (Multiple Correlation) และสมการถดถอยพหุคูณแบบวิธีการคัดเลือกเข้า (Multiple Regression Analysis- Enter Method)

           พบว่า ระดับภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก  โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านการสร้างแรงบันดาลใจ ด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคล ด้านการมีอิทธิพลอย่างมีอุดมการณ์  และด้านการกระตุ้นทางปัญญา พบว่า ระดับจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาในโรงเรียนพระปริยัติธรรม โดยรวมอยู่ในระดับมาก เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน โดยเรียงลำดับค่าเฉลี่ยจากมากไปหาน้อย คือ ด้านจรรยาบรรณต่อสังคม ด้านจรรยาบรรณต่อตนเอง ด้านจรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ ด้านจรรยาบรรณต่อวิชาชีพ  และด้านจรรยาบรรณต่อผู้รับบริการพบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงมีความสัมพันธ์กับจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 โดยมีค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ (r) = .979 แสดงว่าตัวแปรทั้งสองมีความสัมพันธ์ในระดับสูงมาก พบว่า ภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงส่งผลต่อจรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01โดยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงทุกด้านร่วมกันพยากรณ์จรรยาบรรณวิชาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาโรงเรียนพระปริยัติธรรมได้ร้อยละ 97.90 โดยภาวะผู้นำการเปลี่ยนแปลงด้านการคำนึงถึงความเป็นปัจเจกบุคคลมีอำนาจการพยากรณ์สูงสุด รองลงมาได้แก่ ด้านการกระตุ้นทางปัญญา